วันพุธที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
บทที่ 1ฐานข้อมูล SQL

ฐานข้อมูล เป็นการจัดเก็บและการดึงข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับองค์กรฐานข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่จีดเก็บไว้เป็นกลุ่ม นอกจากนี้เพื่อให้เกิดระบบที่มีกลไลสนับสนุนให้ใช้ฐานข้อมุลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบฐานข้อมุลประกอบด้วย ฐานข้อมูลโปรแกรมซึ่งมีหน้าที่ดูแลฐานข้อมูลของระบบ ซึ่งเรียกว่า "ระบบจัดการฐานข้อมูล"

ระบบฐานข้อมูลแบ่งตามคุณลักษณะของโมเดลข้อมูลในระบบฐานที่เป็นที่รู้จักได้แก่
1.โมเดลแบบลำดับชั้น มีการจัดเก็บข้อมูลในโครงสร้างแบบทรี
2.โมเดลแบบเครือข่าย จัดเก็บข้อมูลในโครงสร้างแบบการ์ด
3.โมเดลแบบเชิงสัมพันธ์ เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย จัดเก็บในรูปแบบของเซ็ตของวิชาคณิตศาสตร์พิจารณาเซ็ตของความสัมพันธ์ จัดเก็บข้อมูลเป็นเทเบิลและคอลัมน์โดยการตัดกันของแต่ละแถวกับแต่ละคอลัมน์แทนด้วยค่าของข้อมุลฐานข้อมุลเชิงสัมพันธ์ จะอยู่ในรูปของตาราง 2 มิติ คือแถวและคอลัมน์เปรียบเทียบฐานข้อมุลเชิงสัมพันธ์กับระบบการประมวลผลแบบแฟ้มข้อมุล DBMS ทำงานอยู่บนพื้นฐานเชิงสัมพันธ์ของโมเดล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ โดยข้อมูลในระบบการประมวลผลข้อมุลเชิงสัมพันธ์ เรียกว่า รีเลชั่นความสัมพันธ์ Relationshipหัวใจสำคัญในการออกแบบตาราง มีโครงสร้างเชิงสัมพันธ์เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ โดยกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลนั้นได้ ต้องวิเคราะห์ให้ได้ว่าข้อมูลนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร

ความสัมพันธ์มีทั้งหมด 3 ลักษณะ
1.One to One = แถวหนึ่งใน Table สามารถจับคู่กับอีกแถวหนึ่งในอีก Table ได้เพียงแถวเดียวเท่านั้น
2.One to Mary = หนึ่งแถวใน Table สามารถจับคู่กับอีกแถวใน Table หนึ่งได้หลายแถว
3.Many to Many = แถวหลายแถวใน Table มีความสัมพันธ์กับอีกหลายๆแถวในอีก Table หนึ่งพร้อมกัน

วันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2552

บทที่4 เรื่องการสร้างแบบสอบถาม

แบบฝึกหัด
ตอนที่ 1

1.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ประโยชน์ของฟอร์ม
- ง.แสดงผลข้อมูลแต่ละฟิลด์ได้อย่างอิสระ
2.รูปแบบของฟอร์ม แบ่งออกเป็นกี่ประเภท
- ง.5
3.ถ้าต้องการสร้างฟอร์มโดยให้แสดงข้อมูลในมุมมองฟอร์มและมุมมองแผ่นข้อมูลจะต้องสร้างด้วยคำสั่งใด
- ข. Split Form
4.ถ้าต้องการสร้างฟอร์มโดยให้แสดงข้อมูลในทุกๆเรคอร์ดจะต้องใช้การสร้างฟอร์มแบบใด
- ค. Multiple Item
5.เลเบล (Label)เป็นเครื่องที่ใช้ทำอะไร
- ก.ป้อนข้อความ
6.ข้อมูลที่นำมาใช้ในการสร้างฟอร์มมาจากที่ใด
- ก. Table
7.Form Headerคือส่วนใด
- ก. พื้นที่ที่มีไว้สำหรับกำหนดเลขหน้าของฟอร์ม
8.ถ้าต้องการสร้างกฃล่องรายการให้เลือกจะต้องใช้เครื่องมือใด
- ค.Combo Box
9.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ส่วนประกอบของฟอร์ม
- ข. Section
10.หลังจากที่เพิ่มข้อมูลลงในฟอรืมแล้วข้อมูลจะถูกเก็บไว้ที่ใด
- ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.

ตอนที่2
1.ช Columnar Form=แสดงข้อมูล 1 เรคอร์ดต่อ 1 หน้าฟอร์ม
2.ฌ Tabular Design=ฟอร์มที่แสดงข้อมูลทุกเรคอร์ด
3.ง Form Design=สร้างฟอร์มด้วยการออกแบบเอง
4.ฉ Split Form=แสดงข้อมูลในมุมมองฟอร์มและแผ่นตารางข้อมูล
5.ซ Pivat Chart=วิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะแผ่นภูมิ
6.ญ Label=ใช้แสดงข้อมูลในฟิลด์และป้อนสูตรคำนวณ
7.ข Text Box=พิมพ์ข้อความที่ต้องการแสดง
8.ก Option Group=กลุ่มรายการให้เลือก
9.จ ComboBox=กล่องรายการให้เลือกแบบบรรทัดเดียว
10.ค ListBox=กล่องรายการให้เลือกแบบหลายบรรทัด

ตอนที่3
1.จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างฟอร์ม
- ทำให้ผู้ใช้ทำงานกับข้อมูลในตารางได้สะดวกกว่าการใช้มุมมองแผ่นข้อมูล
2.ในการสร้างฟอร์มมีกี่แบบ แต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
- 5แบบ 1.ฟอร์มคอลัมน์ 2.ฟอร์มแบบตาราง 3.ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล
4.ฟอร์มแบบตารางสรุปข้อมูลหลายมิติ 5.ฟอร์มแบบแผนภูมิสรุปข้อมูลหลายมิติ
3.ส่วนประกอบของฟอร์มมีอะไรบ้าง และแต่ละส่วนมีหน้าที่อย่างไร
- 1.Form Header2.Form Footer3.Page Header4.Page Footer5.Detail
4.จงยกตัวอย่างปุ่มเครื่องมือ(Controls)ที่ใช้ในการเพิ่มส่วนประกอบของฟอร์มมา 3 ส่วนพร้อมทั้งบอกหน้าที่การทำงานของแต่ละส่วนประกอบ
- Text Box ใช้แสดงข้อมูลในฟิลด์ป้อนข้อมูลสูตรคำนวณและฟังก์ชั่นLabel ใช้สำหรับพิมพ์ข้อ ความในฟอร์มButton ปุ่มคำสั่ง
5.จงอธิบายถึงขั้นตอนในการสร้างฟอร์มแบบแผนภูมิ(PivotChart)
- 1.คลิกที่แท็บ สร้าง (Create)
2.คลิกที่ปุ่ม PivotChartในกลุ่มของฟอร์ม
3.คลิกเลือกที่พื้นที่ในแผนภูมิแล้วจะแสดงฟิลด์รายการข้อมูลให้เลือก
4.คลิกที่ฟิลด์ที่ต้องการ5.คลิกที่ปุ่ม Add to เพื่อวางฟิลด์ในตำแหน่งที่เลือกให้
บทที่3 เรื่องการสร้างแบบสอบถาม

ตอนที่ 1

1.ข้อใดไม่ใช่ความสามารถของคิวรี่
- ง. สร้างฟิลด์ใหม่
2.แบบสอบถามข้อมูลใดที่นิยมใช้งานมากที่สุด
- ก. select Query
3.ถ้าต้องการปรับเพิ่มเงินเดือนให้กับพนักงานคนละ10เปอร์เซ็นต์เท่าๆกันจะต้องใช้แบบสอบถามข้อมูลแบบใด
- ง. Update Query
4.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์
- ก. +
5.โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้แทนตัวอักขระใดๆ
- ก.*
6.โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้ในการเชื่อมข้อความ
- ง.&
7.ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในแบบสอบถามข้อมูลจะต้องกำหนดที่บรรทัดใด
- ค.Criteria
8.ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในการค้นหาพนักงานที่มีเงินเดือนตั้งแต่ 50,000บาทขึ้นไปจะต้องกำหนดเงื่อนไขอย่างไร
- >50,000
9.ข้อใดคือรูปแบบในการสร้างฟิลด์ใหม่
- ข. ชื่อฟิลด์ใหม่:ฟิลด์คำนวณ
10.ข้อใดต่อไปนี้คือสูตรในการหาภาษี 5%
- ข. Tax: [Salary]*0.05


ตอนที่2
1.ฉ Select Query=ใช้สอบถามข้อมูลในตาราง
2.ซ Crosstab Query=ใช้สอบถามข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์
3.จ Update Query=ใช้ปรับปรุงข้อมูลตามเงื่อนไข
4.ข Append Query=ใช้ในการเพิ่มข้อมูลต้อท้ายตารางเดิม
5.ฌ Delete Query=ใช้ในการลบข้อมูลตามเงื่อนไข
6.ก Criteria=กำหนดเงื่อนไขในการค้นหาข้อมูล
7.ค Link=ใช้ตรวจสอบว่าตรงกับที่กำหนดหรือไม่
8.ญ In=ใช้ในการกำหนดว่าค่าใดบ้างตรงกับค่าในรายการ
9.ช Find Duplicates Query Wizard=ค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตาราง
10.ง Find Unmatched Query Wizard=ค้นหาข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันใน 2 ตาราง


ตอนที่3
1.จงบอกถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างแบบสอบถามข้อมูล

- ช่วยในการสอบถามข้อมูลในตารางวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทำให้สามารถค้นหาข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
2.จงบอกขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยมุมมองการออกแบบ
- (1.)คลิกเลือกที่แท็บ สร้าง Cerate (2.)คลิกที่ปุ่ม Query Design ออกแบบสอบถาม

(3.)คลิกเลือกชื่อตาราง (4.)คลิกปุ่ม เพิ่ม
(5.)คลิกปุ่ม ปิด (6.)คลิกเลือกชื่อฟิลด์ที่ต้องการจนครบทุกฟิลด์
(7.)คลิกที่มุมมองแผ่นข้อมูลในกลุ่มมุมมอง
3.การสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยเครื่องมือช่วยสร้าง
- 4แบบ (1.)Simple Query สามารถสร้างแบบสอบถามด้วยเครื่องมือง่ายๆ
(2.)Crosstab Query สามารถแสดงข้อมูลในรูปแบบกราฟ
(3.)Find Duplicates Query สามารถค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตารางได้
(4.)Find Unmatched Query ค้นหาข้อมูลที่ไม่ซ้ำกัน
4.จงอธิบายขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยSimple Query Wizard
- (1.)คลิกที่แท็บ สร้าง (2.)คลิกที่ปุ่มตัวช่วยสร้างแบบสอบถาม
(3.)เลือกแบบสอบถามข้อมูลอย่างง่าย (4.)คลิก ตกลง
(5.)เลือกชื่อตาราง (6.)เลือกชื่อฟิลด์ที่ต้องการ
(7.)คลิกปุ่ม ถัดไป (8.)ตั้งชื่อแบบสอบถามข้อมูล
(9.)คลิก เสร็จสิ้น
5.จงอธิบายความหมายและหลักการสร้างแบบสอบถามด้วย Crosstab Query Wizard
- เป็นการสร้างแบบสอบถามข้อมูลที่สอบถามความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์ 2 ฟิลด์หรือมากกว่า

วันอังคารที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2552

วันแม่แห่งชาติขอให้อาจารย์ อำภา กุลธรรมโยธินมีความสุขมากๆๆนะค่ะ
บทที่2 เรื่องการสร้างตาราง

ตอนที่1

1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง(table)ไดชัดเจนที่สุด
-ค. ออบเจ็กต์ที่อยู่ในฐานข้อมูล
2.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิด
-ง. Attachmentเป็นชนิดข้อมูลสำหรับสร้างจุงเชื่อมโยง
3.ฟิลด์(Field)หมายถึงอะไร
-ค.คอลัมน์
4.เรคคอร์ด(Record)หมายถึงอะไร
-ก.ตาราง
5.ชนิดข้อมูลแบบข้อความ(Text)สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
-ค.2556
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆจะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
- ข.Text7.
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองแบบใด
-ก.Design View8.
8.ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
-ข.3แบบ
9.ข้อใดต่อไปนี้ไม่สามารถนำมาประกอบในการตั้งฟิลด์ข้อมูลได้
-ง.เครื่องหมายจุด(.)
10.ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามากจะต้องใช้เครื่องมือใด
-ก.Ascending

ตอนที่2
1. ฌ Field= ข้อมูลในแนวคอลัมน์
2. ง Record=ข้อมูลในแนวแถว
3. จ Memo= เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมากๆ
4. ข OLE Object=เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
5. ซ Curreny=เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
6. ญ Attachment=เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
7. ก Input Mask=กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
8. ฉ Format=กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
9. ช Descending=เรียงลำดับจากมากไปน้อย
10. ค Ascending=เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก

ตอนที่3
1.จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
-
2.จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่นำมาเป็นคีย์หลัก(Primary Key)
- ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคอร์ดไม่ซ้ำกัน
3.อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ(Table Design) และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล(DataSheet View)
-Table Design เป็นมุมมองที่ใช้ในการกำหนดข้อมูลของตาราง ชนิดข้อมูล คุณสมบัติของฟิลด์แต่ละฟิลด์ Datasheet Viewเป็นมุมมองที่ใช้ในการป้อนข้อมูลที่ต้องการเก็บลงในตาราง
4.จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบมีขั้นตอนอย่างไร
- 1.คลิกที่แท็บ Create

2.เลือกปุ่มคำสั่ง (Table Design)ในกลุ่มของTableจากนั้นAccessจะเปิดตารางข้อมูลเปล่า ในมุมมองการออกแบบขึ้นมา
3.กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกดปุ่ม Tab เพื่อเลือกช่องถัดไป
4.เลือกชนิดข้อมูล
5.กำหนดคำอธิบายฟิลด์
6.กำหนดคุณสมบัติฟิลด์เพิ่มเติม
7.คลิกปุ่ม Save จาก Quick Access Toolbar
8.กำหนดชื่อตาราง
9.คลิกปุ่ม OK
10.จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก

วันจันทร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ในวาระวันแม่นี้หนูขอถือโอกาสขอขมาอาจารย์ อำภา กุลธรรมโยธิน ขอให้อาจารย์มีความสุขและคิดสิ่งใดก็ขอให้สมปราถนานะค่ะ(*-*)

บทที่1 เรื่องความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Aeccss 2007
แบบฝึกหัด

ตอนที่ 1
1.ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร
- ข.ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
2.หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว จะต้องสร้างออบเจ็กอะไรเป็นอันดับแรก
- ก.Table
3.ออบเจ็กต์ใดทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดลงฐานข้อมูล
- ก.Table
4.ออบเจ็กต์ Query มีหน้าที่อะไร

-ค.สร้างเเบบสอบถามข้อมูล
5.ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของออบเจ็ก form
- ข.เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล
6.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ กฎของการ normalizatioh
-ข.จะต้องมีความสัมพันธ์เเบบเชิงกลุ่ม(Many-to-Many)
7.ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ที่ได้รับของระบบฐานข้อมูล
- ค.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
8.ขั้นตอนใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนแรกในการออกแบบฐานข้อมูล
- ก.กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
9.ส่วนประกอบต่อไปนี้เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 ยกเว้นข้อใด
- ง.Ribbon
10.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
- ก.เมื่อบันทึกฐานข้อมูลในAccess2007จะมีนามสกุลเป็น .accdb

ตอนที่ 2

1. ช DBMS=ระบบจัดการฐานข้อมูล
2. จ Normalization=กฏที่ใช้ในการออกแบบตาราง
3. ซ Office Button=ปุ่มที่รวบรวมชุดคำสั่งในการจัดการฐานข้อมูล
4. ญ Quick Access Toolbar=แถบเครื่องมือที่รวบรวมปุ่มเครื่องมือที่ใช้งานบ่อยๆเอาไว้
5. ฌ Ribbon=ส่วนในการทำงานใหม่ที่เข้ามาแทนที่แถบเมนูและแถบเครื่องมือ
6. ก Navigation Pane=แถบในการแสดงออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น
7. ค Document Window=ส่วนของพื้นที่ในการทำงานของออบเจ็กต์ต่างๆ
8. ข Query=แบบสอบถามข้อมูล
9. ง Mecro=ชุดคำสั่งกระทำต่างๆที่นำมารวมกัน
10.ฉ Module=โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นด้วยภาษา VBA

ตอนที่3
1.จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล
-ฐานข้อมูล(Database)คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง ข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นมีความสัมพันธ์กัน
2.ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร
-1.ลดความซับซ้อนของข้อมูล
2.ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล
3.ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล
4.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้
5.มีความปลอดภัย
3.ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร
-1.Table ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
2.Queries ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล.
3.Froms แบบฟอร์มในการทำงาน สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง
4.Report ใช้ในการสร้างรายงาน
5.Macros ชุดคำสั่งที่นำมาร่วมกันตามขั้นตอนในการทำงานเพื่อให้การทำงานเป็นอัติโนมัติ
6.Modules ช่วยให้ทำงานกับข้อมุลที่ซับซ้อนมากขึ้นได้
4.จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอเข้าใจ
-ต้องกำหนดวัตถุประสงค์ว่าต้องใช้ข้อมูลเรื่องใด ใช้เพื่อทำอะไร ต้องการอะไร สอบถามความต้องการจากผู้ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นจัดเป็นกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล กำหนดชนิดข้อมูล กำหนดความสัมพันธ์
5.จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำระบบฐานข้อมูลมาใช้พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
-งานทะเบียน เพราะว่าเป็นงานที่ทำเกี่ยวกับประวัติของพนักงานหรือนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมีข้อมูลต่างๆหลายอย่าง

วันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2552










User

password

checkbox
ผู้หญิงผู้ชาย
radio
อ่านหนังสือร้องเพลง วาดภาพ

Text
option







วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

ประวัติส่วนตัว
ชื่อ นายกันต์ศักดิ์ สกุล มณีศรีรัษฎ์
เกิดวันที่ 20 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2534
ที่อยู่ปัจจุบัน 88/1549 ถนนพระราม2 เขตบางขุนเทียน แขวงแสมดำ หมู่ 6 กรุงเทพมหานคร 10150
สุขภาพ -
โรคประจำตัว ภูมิแพ้
เคยแพ้ยา -
บิดาชื่อ นายสัมฤทธิ์ สกุลมณีศรีรัษฎ์ มือถือ -
มารดาชื่อ นางสุกัญญา สกุล มณีศรีรัษฎ์ มือถือ -
อาจารย์ที่ปรึกษา อ.อำภา ธรรมโยธิน
มือถืออาจารย์ที่ปรึกษา 0814134242
เลขที่สัญญากองทุนเพื่อการศึกษา
เลขที่บัตรประชาชน 1102001653481

วันจันทร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2552













รายการเว็บไซต์
เว็บไซต์รายละเอียด
เว็บhatt://blythe.buddythai.com
หน่วยงาน บริษัทรับสั่งซื้อตุ๊กตาBlythe
รายละเอียด เป็นบริษัทที่บริการขายตุ๊กตาBlytheทางอินเตอร์เน็ต
และประกาศผลการประกวดภาพถ่ายของตุ๊กตาBlythe
hatt://blythe.buddythai.com
เว็บwww.truemove.com
หน่วยงาน บริษัทtruemoveจำกัด
รายละเอียด เป็นเว็บที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับเครือข่ายการให้บริการของบริษัทtruemove
www.truemove.com
เว็บwww.rs.co.th
หน่วยงาน บริษัท RS
รายละเอียด เป็นเว็บที่รวบรวมแหล่งข้อมูลของศิลปิน RS
และบริการดาวน์โหลดเพลงและดู MVเพลงของค่ายRS
www.rs.co.th
เว็บwww.mkrestaurant.com
หน่วยงาน บริษัท MK RESTAURANT จำกัด
รายละเอียด เป็นเว็บที่ให้บริการแนะนำเมณูอาหารของทางร้านยาโยอิและมีบริการสั่งอาหารทางอินเตอร์เน็ตบริการส่งฟรีถึงบ้าน
www.mkrestaurant.com
เว็บwww.gmmgrammy.com
หน่วยงาน บริษัท GMMGRAMMYจำกัด
รายละเอียด เป็นเว็บที่รวบรวมผลงานของศิลปินGRAMMYไว้
และยังมีตางรางงานของศิลปินค่ายGRAMMYมีเพลงและMVใหม่ๆให้ดาวโหลดกัน
www.gmmgrammy.com
เว็บwww.misstiffanyuniverse.com
หน่วยงาน บริษัท ทิฟฟานี่โชว์ พัทยา จำกัด
รายละเอียด เป็นเว็บที่มีประวัติของทิปฟานี่และภาพบรรยากาศในการประกวดมิสทิปฟานี่ปี2552
เว็บwww.pepsithai.com
หน่วยงาน บริษัทเสริมสุข จำกัด(มหาชน)
รายละเอียด เป็นเว็บที่ให้บริการตัวอย่างภาพยนต์ที่เข้าใหม่
และมีรายละเอียดของผลิตภัณฑ์แป๊ปซี่โปรโมชั่นและโฆษณาสินค้า
www.pepsithai.com
เว็บwww.12call.ais.co.th
หน่วยงาน บริษัท One-2-Call
รายละเอียด เป็นเว็บให้บริการแจ้งหมายเลขในเครือข่ายAIS
และโปรโมชั่นต่างๆของAIS
www.12 call.ais.co.th
เว็บwww.happy.co.th
หน่วยงาน happy
รายละเอียด เป็นเว็บที่มีการให้บริการเสริมของเครือข่ายhappyฟังเพลงดูหนังโฆษณาhappy
และบริการอื่นๆอีกมากมายมีให้เลือกหลายช่องทาง
www.happy.co.th
เว็บwww.mamalover.com
หน่วยงาน บริษัทมาม่า
รายละเอียด เป็นเว็บที่ให้บริการรายการอาหารมื้ออร่อยประจำเดือนต่างๆและภาพกิจจกรรมต่างๆของบริษัทมาม่าโปรโมชั่นเกมส์และอื่นๆอีกมากมาก
www.mamalove.com




วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

บทที่ 6 การใช้อินเทอร์เน็ต
ความหมายของอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) คือเครือข่ายนานาชาติที่เกิดจากเครือข่ายเล็ก ๆ มากมาย รวมเป็นเครือข่ายเดียวกันทั้งโลก โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่ายภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกันคือ TCP/IP เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เนื่องจากมีผู้นิยมใช้อินเทอร์เน็ตจากทั่วโลกมากที่สุด
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
เครือข่ายอาร์พาเน็ตเป็นเครือข่ายทางการทหาร สังกัดกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ก่อตั้งเมื่อปี 2512 ใช้ในงานวิจัย ด้านทหารและติดต่อสื่อสารระหว่างกัน ต่อมามหาวิทยาลัยต่าง ๆ สนใจและขอร่วมโครงการ ทำให้เครือข่ายอาร์พาเน็ตมีขนาดใหญ่มากขึ้น ทำให้เกิดปัญหาในการบริหารเครือข่าย ดังนั้นทางการทหารจึงขอแยกตัวออกเป็นเครือข่ายเฉพาะของกองทัพและมีการติดต่อกับเครือข่ายอาร์พาเน็ตเดิมด้วยเทคนิคการโต้ตอบ หรือโปรโตคอลแบบพิเศษที่เรียกว่า ทีซีพี/ไอพีเป็นครั้งแรก
จนกระทั่งปี 2533 ยุติเครือข่ายอาร์พาเน็ตและเปลี่ยนไปใช้ NFNET และเครือข่ายอื่น ๆ แทนและได้มีการเชื่อมต่อเครือข่ายอื่น จนเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ จนถึงทุกวันนี้และเรียกเครือข่ายนี้ว่า”อินเทอร์เน็ต”
ISP (Internet Service Provider)
ISP หรือผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเป็นหน่วยงานที่ให้บริการเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทำหน้าที่เปิดกี่เชื่อมต่อบุคคลหรือองค์กร สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ สำหรับประเทศไทยมีหน่วยงานที่ให้บริการด้านนี้อยู่ 2 ประเภท คือ ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์และผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับสถาบันการศึกษาการวิจัยและหน่วยงานของรัฐ
ISP ประเภทที่ให้บริการเชิงพาณิชย์ ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจะต้องสมัครเข้าเป็นสมาชิกของ ISP รายนั้น ๆ ซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการใช้งานอินเทอร์เน็ตอัตราค่าบริการขึ้นอยู่กับ ISP แต่ละรายข้อดีสำหรับผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ก็คือ การให้บริการมีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งรองรับกับความต้องการของผู้ใช้ที่แตกต่างกันสามารถเลือกรับบริการได้ 2 วิธี คือ ซื้อชดอินเทอร์เน็ตสำเร็จรูปที่ร้านทั่วไปมาใช้และสมัครเป็นมาชิกรายเดือน
ISP ประเภทที่ให้บริการอินเทอร์เน็ตสำหรับสถาบันการศึกษา การวิจับและหน่วยงานของรัฐ เช่น เครือข่าวไทยสาร กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นต้น
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตสามารถเชื่อมต่อได้ 2 ลักษณะ ดังนี้
1. การเชื่อมต่อโดยการหมุนโมเด็ม (Remote Access) การเชื่อมต่อโดยการหมุนโมเด็มสิ่งที่จำเป็นจะต้องมีได้แก่
- สมัครสมาชิกกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ISP ก่อน สิ่งที่ได้คือผู้ใช้และรหัสผ่าน
- สายโทรศัพท์
- โมเด็ม มีแบบ Internal Modem และ External Modem
2. กานเชื่อมแบบระบบ LAN (Local Area Network) การเชื่อมต่อเครือข่ายภายในองค์กรหากหน่วยงานมีบริการแบบ DHCP ก็ไม่จำเป็นต้องติดตั้งหมายเลย IP Address สามารถใช้งานได้เลย
ศัพท์ที่สำคัญในอินเทอร์เน็ต
1. โปรโตคอล (Protocol)
2. ชื่อโดเมนเนม (DNS: Domain name/Domain name Server)
Internet Address คือ IP Address ที่อยู่ในรูปแบบของตัวอักษร โดยตัวย่อของ Internet Address จะมีความแตกต่างตามหน่วยงานที่ดูแลการจดชื่อโดเมน สำหรับประเทศไทยมี 7 ประเภทคือ
.net.th สำหรับหน่วยงานของไทยที่ให้บริการเครือข่าย
.co.th สำหรับองค์กรธุรกิจที่จดทะเบียนในไทย
.or.th สำหรับองค์กรของไทยที่ไม่แสวงหาผลกำไร
.ac.th สำหรับหน่วยงานสถาบันการศึกษาของไทย
.mi.th สำหรับหน่วยงานทางทหารของไทย
.in.th สำหรับองค์กรหรือบุคคลทั่งไปของไทย
3. เวิลด์ไวด์เว็บ (world wide web หรือ www)
4. เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server)
5. โปรโตคอลของเว็บ (HTTP)
6.เว็บเพจ (Web page)
7. เว็บไซต์ (Web Site)
8. โฮมเพจ (HomePage)
9. ภาษของเว็บ (HTML: HyperText Markup Language)
10. ยูอาร์แอล (URL: Uniform Resource Locator)
การประยุกต์ใช้งานอินเทอร์เน็ต
1. ด้านการศึกษา ค้นคว้าหาข้อมูลจากห้องสมุดออนไลน์ ศึกษาบทเรียนวิชาต่าง ๆ ฝึกทำข้อสอบ เกมส์การศึกษาสำหรับเด็ก และให้บริการข้อมลข่าวสารต่าง ๆ
2. ด้านธุรกิจ ปัจจุบันได้มีธุรกิจเกิดขึ้นมากมายในรูปแบบต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ตที่เรียกว่า E-Commerce มีทั้งโฆษณาและการให้บริการสินค้า ซึ่งมีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าการโฆษณาด้วยสื่ออื่น ๆ ผู้ซื้อสามารถเลือกซื้อสินค้าผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตได้โดยวิธีการชำระเงินด้วยบัตรเครดิตต่าง ๆ และยังสามารถหางานและสมัครงานผ่านระบบนี้ได้อีกด้วย
3. ด้านการสื่อสาร ใช้สำหรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรือสามารถพูดคุยกับเพื่อนได้ทั่วโลกโดยไม่ต้องเสียค่าโทรศัพท์ทางไกล
4. ด้านการบันเทิง ข้อมูลข่าวสารทางด้านบันเทิงมีอยู่มากมายเช่น ดูภาพยนตร์ ทีวี ฟังเพลง
อีเมลและการรับส่งอีเมล
อีเมล (Electronic mail หรือ E-mail) คือ กล่องจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้ใช้สามารถรับและส่งอีเมลในอินเทอร์เน็ต เพื่อประโยชน์ด้านการสื่อสารโปรแกรมที่ใช้รับส่งอีเมลจะรับส่งผ่านทางเครื่องที่ให้บริการรับส่งเมล จะเรียกว่า “เมลเซิร์ฟเวอร์”
รูปแบบของ E-mail Address ชื่อผู้ใช้@ชื่อหน่วยงานหรือชื่อของโดเมน
การส่งอีเมล เมื่อผู้ใช้เขียนเมลโดยใช้โปรแกรมรับส่งเมลหรือใช้เว็บไซต์ที่ไปขออีเมลฟรีไคลเอนท์จะติดต่อกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์โดยใช้โปรโตคอลอีเมลจะถูกส่งมาเก็บในเครื่องเมลเซิร์ฟเวอร์จัดเก็บลงในคิว เพื่อรอการจัดส่งต่อไป
การแลกเปลี่ยนอีเมลระหว่างเมลเซิร์ฟเวอร์ อีเมลที่ผู้ใช้ส่งมายังเซิร์ฟเวอร์ จะถูกจัดการโดยโปรแกรมแลกเปลี่ยนอีเมลโดยอ่านที่อยู่อีเมลปลายทาง และนำโดเมนปลายทางไปตรวจสอบกับเนมเซิร์ฟเวอร์เพื่อหาว่าเมลเซิร์ฟเวอร์ที่ให้บริการโดยโดเมนปลายทาง จากนั้นจะติดต่อไปยังเมลเซิร์ฟเวอร์นั้น และส่งเมลไปยังเมลเซิร์ฟเวอร์ปลายทาง โดยใช้โปรโตคอลเพื่อรอให้ผ้ใช้ปลายทางมารับอีเมลไป
การรับอีเมล ผู้ใช้ปลายทางสามารถรับอีเมลได้โดยผ่านโปรแกรมรับส่งอีเมลหรือเว็บเมลโดยโปรแกรมจะติดต่อมายังเครื่องเมลเซิร์ฟเวอร์ แล้วส่งชื่อผู้ใช้และรหัสผ่าน เมื่อเมลเซิร์ฟเวอร์ตรวจสอบว่าวื่อผู้ใช้และรหัสผ่านถูกต้อง ก็จะอนุญาตผู้ใช้รับอีเมลได้โปรโตคอลที่ใช้ในการรับอีเมลนี้ เช่น POP3 หรือ IMAP4
POP3 = Post Office Protocol version 3
POP ถูกออกแบบสำหรับการเข้าถึงแบบ Offline คือ จดหมายอยู่ในเซิร์ฟเวอร์ และผู้ใช้สามารถใช้โปรแกรมที่สนับสนุน POP ในการเข้าถึงจดมายระยะไกล การจัดการใด ๆกับจดหมายจะเป็นการจัดการในเครื่องของผู้ใช้เท่านั้นถึงแม้ข้อจำกัดของการเข้าถึงแบบ Offline จะทำให้เกิดความคิดที่จะทำให้ POP สามารถใช้งานในแบบ Disconnected ได้ แต่ POP ขาดคุณสมบัติที่จำเป็นบางอย่าง ส่วนการเข้าถึงแบบเสมือน Online จดหมายจะไม่ถูกลบออกจากเซิร์ฟเวอร์แต่ไม่ใช้การเข้าถึงที่แท้จริงเพราะขาดโปรโตคอลในการเข้าถึงระบบไฟล์ในเครื่องเซิร์ฟเวอร์
IMAP
มีความสามารถในการเข้าถึงทั้งแบบ Offline คือการเข้าถึงโดยใช้คอมพิวเตอร์เครื่องเดียว และแบบ Online โดยในแบบ Online คือ การเข้าถึงแบบตอบโต้กับเซิร์ฟเวอร์ และเข้าถึง mailbox หลาย ๆ อันจดหมายจะไม่ถูกดึงมาแต่จะเป็นแบบโต้ตอบกับเซิร์ฟเวอร์นั้นคือ ผู้ใช้สามารถดึงเฉพาะหัวเรื่องข้อจดหมาย บางส่วนของจดหมายหรือค้นหาจดหมายที่ตรงความต้องการ โดยจดหมายที่ถูกเก็บไว้บนเซิร์ฟเวอร์ และสามารถตั้งค่าสถานะของจดหมายต่าง ๆ เช่น ถูกลบไปแล้ว ตอบไปแล้วและจะอยู่ในเซิร์ฟเวอร์จนกว่าผู้ใช้จะสั่งลบ

บทที่ 5 ระบบเครือข่ายเบื้องต้น
ความหมายของระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย/คอมพิวเตอร์เน็ตเวิร์ก/ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์คือระบบการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง นำมาเชื่อมต่อเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อสารมารถใช้งานแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารร่วมถือการใช้ทรัพยากรบางอย่างของระบบร่วมกันได้
การนำเอาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้งาน
1. ใช้ทรัพยากรร่วมกัน คือเพื่อใช้อุปกรณ์ต่างร่วมกัน เช่น เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมร่วมกัน ซึ่งจะประหยัดกว่าการมีอุปกรณ์เหล่านี้หลาย ๆ ชุดสำหรับแต่ละเครื่อง
2. ใช้ข้อมูลในไฟล์ร่วมกัน คือ ข้อมลชุดเดียวกันสามารถเรียกใช้ได้จากหลาย ๆ เครื่อง เช่น ข้อมลนักเรียนนักศึกษา ข้อมลการบริหารงานงบประมาณ
3. ความสะดวกในการดูแลระบบคือทำให้สามารถดูแลและบริหารระบบได้จากที่เดียว เช่น ผู้ดูแลระบบสามารถตรวจสอบสถานการณ์ทำงาน
ประเภทของเครือข่าย
1. LAN (Local Area Network) เป็นการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันในระยะจำกัด
2. WAN (Wide Area Network) เป็นการเชื่อมต่อแลนในที่ต่าง ๆเข้าด้วยกันผ่านระบบสื่อสารอื่น ๆ
ข้อจำกัดของระบบเครือข่าย
การนำระบบเครือข่ายมาใช้งาน ผู้วางระบบจะต้องคิดให้รอบคอบว่าการต่อเครื่องคอมพิวเตอร์กับเครือข่ายนั้น จะทำงานได้ตามต้องการหรือไม่ และมีขีดจำกัดอย่างไร ควรเลือกใช้เทคโนโลยีแบบใดจากที่มีให้เลือกใช้มากมาย ซึ่งผลสรุปที่ได้อาจแตกต่างกันไปในแต่ละงาน
ข้อจำกัดของระบบเครือข่ายมีหลายอย่าง ดังนี้
1. การเรียกใช้ข้อมูลทำได้ช้า
2. ข้อมูลไม่สามารถใช้ได้ทันที
3. ยากต่อการควบคุมดูแล
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
2.1 อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คืออุปกรณ์เชื่อมต่อเข้าเป็นระบบเครือข่าย เช่น
1. การ์ดแลน (Network Interface Card: NIC)
2. ฮับ/สวิตช์ (Hub/Switch)
2.2 ซอฟต์แวร์ (Software) คือ โปรแกรมต่าง ๆ
2.3 สื่อกลางนำข้อมูล (Media) สื่อกลางนำข้อมลมนระบบเครือข่าย เริ่มตั้งแต่สายเคเบิลชนิดต่าง ๆ คลื่นวิทยุแบบที่ใช้กับ Wireless LAN หรือแม้แต่ไฟเบอร์ออปติก หรือสายใยแก้วนำแสงที่ใช้นำระบบแลนไปจนถึงเครือข่ายสื่อสารระยะไกล โดยมีพื้นฐานหลัก ๆ ที่ควรพิจารณาดังนี้
สายเคเบิ้ล (Cable) ที่นิยมใช้กันมีหลายประเภท คือ
1. สายโคแอกเชี่ยล
2. สาย UTP
3. สาย STP
4. สายใยแก้วนำแสง
ลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าที่รับส่งกัน
ปกติคอมพิวเตอร์ทำงานกับสัญญาณที่เป็นระบบดิจิตอล คือ 0 กับ 1 หรือแรงดันไฟฟ้าสงกับต่ำ ในระบบเครือข่าย การส่งข้อมลในลักษณะของสัญญาณดิจิตอล คือ ใช้ความถี่พื้นฐานของสัญญาณจึง แต่การส่งแบบนี้มีปัญหาคือ ถูกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือสัญญาณรบกวนได้ง่าย ดังนั้นจึงมีการนำเอาคลื่นความถี่สงเข้ามาใช้เป็นคลื่นพาหะโดยผสมสัญญาณข้อมูลเข้ากับคลื่นพาหะนี้ในแบบผสมของความถี่แบบเดียวกับการส่งวิทยุกระจายเสียงการส่งสัญญาณแบบผสมนี้มีเพียง 2 ระดับ คือ 0 กับ 1 ดังนั้นคลื่นที่ส่งจะมีลักษณะเป็นสองความถี่สลับกันไป
จากการใช้คลื่นพาหะสามารถแยกความต่างระหว่าง 0 กับ 1 ได้ดีโดยดูจากความถี่ซึ่งรบกวนได้ยากกว่าและการใช้สัญญาณความถี่สูงในการส่งข้อมูลเราเรียกวิธีการนี้ว่า “Broadband”
แต่เสียค่าใช้จ่ายสูงและต้องเพิ่มอุปกรณ์ในการจัดการกับสัญญาณที่ความถี่สูงในปัจจุบันระบบแลนทั่วไปจึงใช้กับการรับส่งสัญญาณแบบ Baseband เป็นหลัก
ส่วนการรับส่งสัญญาณผ่านสายไฟเบอร์ออปติก จะใช้สัญญาณแสงแบบ Broadband โดยผสมสัญญาณดิจิตอลเข้ากับสัญญาณแสง ซึ่งมีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุขึ้นไปอีก ทำให้สามารถรับส่งข้อมูลได้ในอัตราสูง
ลักษณะการแบ่งกันใช้สาย
ระบบเครือข่ายแลนใช้สายสัญญาณชุดเดียวกันในการติดต่อ จึงจะต้องมีวิธีการที่จะแบ่งเวลาใช้สายสัญญาณนี้ให้ทั่วถึงกัน เพื่อไม่แต่ละเครื่องต้องรอกันนานเกินไป ก่อนจะรับส่งกันได้มีวิธีที่ใช้กัน 2 แบบ คือ
1. แบบ CSMA/CD
2. แบบ Token-passing
มาตรฐานของระบบเครือข่าย
ระบบ LAN ที่ใช้กันในปัจจุบันมีลักษณะฮาร์ดแวร์ที่ยึดหลักมาตรฐานของสถาบันวิศวกรรมและอิเล็กทรอนิกส์ของสหรัฐฯ หรือ IEEE โดยแบ่งเป็นสองกลุ่มใหญ่คือ อีเทอร์เน็ต และ Token-Ring
มาตรฐานของ Ethernet
- ความเร็ว หมายถึง ตัวบอกว่าระบบนั้นทำความเร็วได้เท่าไร ปัจจุบันมีใช้กันคือ 10, 100 หรือ 1000 เมกะบิตต่อวินาที ซึ่งตัวเลขนี้จะเป็นค่าสงสุดที่ระบบ LAN นั้นทำได้ในกรณีที่ไม่มีอปสรรค์อื่นใดมาถ่วงให้ล่าช้า
- วิธีส่งสัญญาณ หมายถึง ปกติรหัสที่ใช้บอกการส่งสัญญาณทางไฟฟ้าบนระบบ Ethernet จะมี 2 ลักษณะ คือ Baseband และ Broadband ซึ่งระบบ LAN ในปัจจุบันยังเป็นแบบ Baseband
Baseband คือ ส่งเป็นสัญญาณแบบดิจิตอล 0 และ 1 หรือแรงดันไฟฟ้า 0 และ 5 โวลต์โดยไม่มีการผสมผสานสัญญาณนี้เข้ากับสัญญาณความถี่สูงอื่นใด
Broadband คือ มีการผสมสัญญาณข้อมูลที่จะส่งเข้ากับสัญญาณอนาล็อกหรือคลื่นพาหะที่มีความถี่สูง เพื่อให้ส่งได้ไกลและมีความเพี้ยนน้อยกว่าแบบแรก นอกจากนี้ยังส่งได้หลายช่องทาง
- สายที่ใช้ Ethernet แบบดั้งเดิมนั้นมีความเร็วเพียง 10 Mbps และมีการต่อสาย 3 แบบต่อมามีสายไฟเบอร์ออฟติกเพิ่มขึ้นมาและสาย UTP ก็พัฒนาขึ้นไปจนทำความเร็วได้เป็น 1000 Mbps
- Fast Ethernet และ Gigabit Ethernet
Ethernet ในปัจจุบันได้รับการพัฒนาให้มีความเร็วเพิ่มจาก 10 Mbps เป็น 1000 และ 1,000 Mbps หรือมากกว่านี้ ซึ้งสามารถใช้กับข้อมูลขนาดใหญ่หรือภาพนิ่ง หรือข้อมูลที่ต้องรับส่งให้ได้ตามเวลาจริง
-Token-Ring
เป็นระบบ LAN ต่อในแบบ Ring และใช้การควบคุมแบบ Token-passing ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยบริษัทไอบีเอ็ม โดยในรุ่นแรก ๆ จะมีความเร็วเพียง 4 Mbps แต่ต่อมาได้ปรับปรุงเป็น 16 Mbps สายที่ใช้จะเป็นเคเบิ้ลแบบพิเศษมี 2 คู่ ต่อเข้ากับ Hub ทีเรียกว่า MAUซึ่ง 1 ตัว ต่อได้ 8 เครื่อง และพ่วงระหว่าง MAU แต่ละตัวเข้าด้วยกันได้อีก เกิดเป็นลักษณะที่เห็นลากสายจาก MAU ไปยังตัวเครื่องเหมือนกับดาวกระจายหรือเครือข่ายแบบ Star แต่ถ้าตรวจสอบสายจะเป็นแบบวงแหวน
ข้อจำกัดของ Token-Ring คือ ถ้าสายเส้นใดเส้นหนึ่งขาด Ring จะไม่ครบวงและทำงานไม่ได้
-FDDI (Fiber Distributed Data Interface)
FDDI เป็นมาตรฐานการต่อระบบเครือข่ายโดยอาศัยสาย Fiber Optic ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วสูงถึง 100 Mbps เท่ากับ Fast Ethernet หรือ 10 เท่าของ Ethernet พื้นฐาน ลักษณะของ FDDI จะต่อไป ring ที่มีสายสองชั้นเดินค่ขนานกัน เพื่อสำรองในกรณีเกิดสายขาดขึ้น
FDDI เหมาะที่จะใช้เป็นเครือข่ายหลักหรือ Backbone ที่เชื่อมระบบ LAN หลาย ๆ วงเข้าด้วยกันโดยแต่ละวง LAN จะต้องมีตัวรวมสาย หรืออุปกรณ์ Router ที่ใช้ต่อระหว่าง LAN ทั้งวงเข้าเป็นสถานีหรือ Node หนึ่งในวงของ FDDI

ระบบเครือข่ายแบบไร้สาย
Wireless LAN
ระบบเครือข่ายแบบไร้สายคือเครือข่ายที่อาศัยคลื่นวิทยุในการรับส่งข้อมลซึ่งมีประโยขน์ที่เห็นได้ชัดคือ เรื่องของการไม่ต้องเดินสายเหมือนระบบ LAN แบบอื่น ๆ ซึ่งเหมาะกับการใช้งานในบ้านและเป็นที่ไม่มีปัญหารบกวนของสัญญาณวิทยุมากนัก
ปัจจุบันมาตรฐาน Wireless LAN ที่นิยมใช้กันเรียกว่า IEEE802.11 ซึ่งยังแตกย่อยออกเป็นหลายแขนง แต่ที่แพร่หลายคือ IEEE802.11b ซึ่งทำความเร็วได้สูงสุด 411 Mbps และ 802.11g สามารถทำงานร่วมกับ 802.11b ได้ แต่เพิ่มความเร็วเป็น 54 Mbps
การทำงานของ Wireless LAN
ทำงานโดยใช้คลื่นวิทยุรับส่งกันระหว่างอุปกรณ์รับส่งสัญญาณที่ติดตั้งในคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง กับจุกเข้าใช้เรียกว่า “Access Point” ซึ่งเป็นตัวกลางในการติดต่อถึงกัน ระหว่างอุปกรณ์รับส่งแต่ละเครื่อง
โดยปกติระบบเครือข่ายแลนไร้สายจะมีจำนวนจำกัดเครื่องที่ต่อได้ในระบบเครื่องเดียวกัน เช่น 128 เครื่อง เพราะจะมีช่วงความถี่ที่จะแบ่งกันใช้ในจำนวนจำกัด
ความปลอดภัยของข้อมลในระบบ LAN แบบไร้สาย
สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการใช้เครือข่ายแบบไร้สาย คือ ความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากข้อมูลถูกส่งไปในอากาศ ซึ่งสามารถถูกดักจับได้ง่าย ดังนั้นจึงต้องมีวิธีการเข้ารหัสข้อมูลเดิมใช้วิธีเข้ารหัสที่เรียกว่า WEP แต่ปัจจุบันถูกมาองว่าวิธีนี้ยังไม่ปลอดภัยจึงมีการออกแบบมาตรฐานใหม่คือ WAP ซึ่งปลอดภัยกว่าตาใช้กับอุปกรณ์ใหม่ ๆ เท่านั้นมาตรฐานนี้ก็กำลังจะพัฒนาไปเป็น WPA2 หรือตามหมายเลขทางการ
ส่วนเรื่องการป้องกันการแอบเชื่อมต่อเข้ามาในระบบ LAN ไร้สาย ก็ยังมีวิธีกำหนดรหัสเครือข่ายหรือที่เรียกว่า SSID ซึ่งจะคล้าย ๆ Workgroup ในเครือข่ายของ Windows นั่นเอง โดยอุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายจะต้องถูกกำหนดค่า SSID ที่ตรงกันด้วยจึงจะสามารถสื่อสารกันได้
อุปกรณ์ในการติดตั้งระบบ Wi-Fi
1. Access Point สามารถกำหนดค่า IP ในรูปแบบอัตโนมัติ หรือ Dynamic Host Configuration Protocol (DHCP) สามารถ เชื่อมกับ Network Switch หรือ HUB ได้โดยผ่านสาย LAN สามารถทำงานในลักษณะ Router ซึ่งทำให้ผู้คนหลายคนสามารถใช้งานระบบ Broadband ได้
2. Wireless Adapter เป็นอุปกรณ์ซึ่งต่อเชื่อมกับคอมพิวเตอร์และเครือข่ายไร้สาย โดยการทำงานของ Wireless Adapter จะเป็นลักษณะการส่งสัญญาณคลื่นวิทยุแบบ Two-way ทั้งรับและส่ง
ประเภทของ Wireless Adapter
1. USB Wireless
2. Adapter
3. PCI Wireless
4. Built-in Adapter
5. Compact Flash
6. (CF) Card Adapter
7. Secured Flash
8. (SF) Card Adapter
รูปแบบการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สาย
1. แบบ Peer-to-peer (ad hoc mode)
2. แบบ Client/Server (Infrastructure mode)
3. แบบ Multiple access points and roaming
4. แบบ Use of an Extension Point
5. แบบ The Use of Directional Antennas
การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
การทำงานของคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย เครื่องที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องแม่ข่ายเรียกว่า “เซิร์ฟเวอร์” เป็นเครื่องที่ให้บริการแก่เครื่องอื่น เครื่องลูกข่ายเรียกว่า “ไคลเอนท์”หรือบางครั้งเรียกว่า “เวิร์กสเตชั่น” โดยทั่วไปการจัดแบ่งหน้าที่การทำงานของคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายจะมี 2 แบบใหญ่ คือแบบที่ทุกเครื่องมีศักดิ์ศรีเท่ากันเรียกว่า Peer-to-Peer หมายถึงแต่ละเครื่องจะยอมให้เครื่องอื่น ๆ ในระบบมาใช้ข้อมูล หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ได้โดยเสมอภาคกันแบบที่เรียกว่า “Server-based” หรือ “Dedicated Server”
การทำงานของระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ สามารถทำได้โดยการนำระบบ LAN หลาย ๆ วงมาเชื่อมต่อกัน โดยใช้อุปกรณ์เพิ่มเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ เช่น
1. อุปกรณ์ Repeater ใช้เมื่อสายที่ต่อมีความยาวเกินกว่าที่มาตรฐานกำหนด
2. อุปกรณ์ Bridge ทำหน้าที่เป็นสะพานเชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่ายเข้าด้วยกัน
3. อุปกรณ์ Switch ทำหน้าที่รวมสัญญาณ
4. อุปกรณ์ Router ทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือ Node หนึ่งในระบบ LAN

บทที่ 4 การนำเทคโนโลยีมาใช้ในงานธุรกิจ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานธุรกิจ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับระบบงานในองค์กรและงานด้านบริหารในโลกยุคใหม่ทำให้การค้าและการดำเนินธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงให้ก้าวทันสู่ยุคของการค้ารูปแบบใหม่โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อเพิ่มช่องทางการตลาดและการให้บริการไปสู่กลุ่มลูกค้าเป็นการสร้างความพึงพอใจแก่ลูกค้า คำว่า “อีคอมเมิร์ซ์” (E-Commerce/Electronics Commerce) จัดเป็นทางเลือกหนึ่งที่ช่วยให้องค์กร ได้เปรียบคู่แข่งขัน
ความหมายของอีคอมเมิร์ซ (E-Commerce)
อีคอมเมิร์ซ หรือชื่อแปลเป็นไทยว่า “พานิชย์อิเล็กทรอนิกส์” หมายถึง การดำเนินธุรกิจซื้อขายโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ E-Business หมายถึงการทำกิจกรรมทุกๆ อย่างทุกขั้นตอนผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีขอบเขตที่กว้างกว่าอีคอมเมิร์ซที่เป็นการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นโครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกับลูกค้า ค้นหาข้อมูลหรือทำงานร่วมกันได้
อีคอมเมิร์ซ เป็นเรื่องละเอียดอ่อน การตัดสินใจลงทุนในธุรกิจประเภทนี้ จะต้องวางแผนให้รัดกุม ถึงแม้จะใช้เงินลงทุนในระยะแรกไม่สูงและไม่ต้องมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์มากนักก็สามารถทำธุรกิจประเภทนี้ได้ แต่ปัจจุบันมีคู่แข่งเข้ามาในธุรกิจมาก เพราะนักลงทุนสามารถเปิดธุรกิจได้ง่ายและกำลังอยู่ในความสนใจของคนรุ่นใหม่
ความเป็นมาของอีคอมเมิร์ซ
ปัจจุบันยังคงมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบริษัทด้วยการใช้ระบบไปรษณีย์ และอีกหลายบริษัทใช้วิธีการป้อนข้อมูลลงในโปรแกรมแบบฟอร์มทางธุรกิจไม่ว่าเป็นใบสั่งซื้อใบส่งสินค้าใบเสร็จรับเงินและจัดพิมพ์ข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์จึงจัดส่งแบบฟอร์มนั้นหรือใช้วิธีส่งแฟกซ์ทำให้บริษัทต้องสูญเสียเวลาอย่างมาก ในการติดต่อเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ต่อมายุคการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) จึงได้มีแนวคิดที่จะให้คอมพิวเตอร์ช่วยการค้าทั้ง 2 ฝ่ายแลกเปลี่ยนเอกสารกันทางอิเล็กทรอนิกส์ได้โดยตรง คือ คอมพิวเตอร์ของฝ่ายหนึ่งจัดส่งเอกสารต่าง ๆ ที่เคยต้องพิมพ์ลงในกระดาษนั้นไปให้คอมพิวเตอร์ของอีกฝ่ายหนึ่งในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยผ่านระบบเครือข่ายแบบที่จัดสร้างขึ้นโดยเฉพาะหรือส่งผ่านสายโทรศัพท์ซึ่งช่วยเพิ่มความเร็วในการทำงานได้มาก แต่ปัญหาที่ตามมาคือ ไม่มีเอกสารที่อยู่บนกระดาษเป็นหลักฐานให้เซ็นชื่อกำกับเหมือนก่อน นอกจากนี้โปรแกรมที่จะจัดการกับข้อมูลแต่ละฝ่ายก็มักจะเป็นโปรแกรมคนละอย่างที่ไม่สามารถใช้ด้วยกันได้
วิธีแก้ไขปัญหาคือ ปัญหาแรกอาจต้องมีการเข้ารหัสพิเศษก่อนจะส่งข้อมูล เพื่อยืนยันได้ว่าผู้ที่เข้ารหัสมาก็คือฝ่ายที่เป็นคู่ค้าไม่ใช่บุคคลอื่น ส่วนปัญหาข้อสองที่โปรแกรมไม่สามารถใช้งานในรูปแบบเดียวกันได้นั้น มีการวางมาตรฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันเป็นระบบที่เรียกว่า ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรือระบบ EDI
แต่การนำระบบ EDI มาใช้ยังได้รับความนิยมน้อย เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายในการวางระบบ และดำเนินงานสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่จะให้คอมพิวเตอร์ของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้องสามารถรับส่งข้อมูลกันได้อย่างราบรื่นยิ่งมีฝ่ายที่เกี่ยวข้องมากขึ้นความยุ่งยากซับซ้อนก็มากขึ้น ทำให้มีการใช้กันเฉพาะในวงการอุตสาหกรรมเฉพาะทางที่มีผู้ที่เกี่ยวข้องเพียงไม่กี่ฝ่ายเท่านั้น
ปัจจุบันระบบอินเทอร์เน็ตเป็นที่นิยมแพร่หลาย แนวคิดในเรื่องการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อการค้าระหว่างคอมพิวเตอร์ของแต่ละธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรงนั้นก็เกิดขึ้น โดยแทนที่ระบบ EDI ซึ่งเป็นระบบของธุรกิจขนาดใหญ่ แต่กลายเป็นระบบการซื้อขายในระดับของผู้บริโภคทั่วๆไปโดยตรง ใครมีคอมพิวเตอร์สามารถต่อระบบอินเตอร์เน็ตได้ก็สามารถเข้าร่วมกับกระบวนการค้าอิเล็กทรอนิกส์ทันที
ประโยชน์ของอีคอมเมิร์ซ (E-Commerce)
ประโยชน์ของอีคอมเมิร์ซต่อบุคคล มีดังนี้
1. มีสินค้าและบริการราคาถูกจำหน่าย
2. ทำให้ลูกค้ามีทางเลือกมากขึ้น
3. สามารถทำธุรกรรมได้ตลอด 24 ชั่วโมง
4. ทราบข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าและบริการได้ในเวลาที่รวดเร็ว
5. ทำให้ลูกค้าสามารถเลือกสินค้าตรงตามความต้องการมากที่สุด
6. สนับสนุนการประมูลเสมือนจริง
7. ทำให้ลูกค้าสามารถติดต่อกับลูกค้ารายอื่นในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
8. ทำให้เกิดการเชื่อมโยงการดำเนินงานภายในโซ่มูลค่า
ประโยชน์ของอีคอมเมิร์ซต่อองค์กรธุรกิจ มีดังนี้
1. ขยายตลาดในระดับประเทศและระดับโลก
2. ทำให้บริการลูกค้าได้จำนวนมาก
3. ลดปริมาณเอกสารเกี่ยวกับการสร้าง การประมวล การกระจาย การเก็บและการดึงข้อมูลได้ถึงร้อยละ 90
4. ลดต้นทุนการสื่อสารโทรคมนาคม
5. ช่วยให้บริษัทขนาดเล็กแข่นขันกับบริษัทขนาดใหญ่ได้
6. ทำให้การจัดการผลิตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ประโยชน์อีคอมเมิร์ซต่อสังคม มีดังนี้
1. สามารถทำงานที่บ้านได้ ทำให้มีการเดินทางน้อยลง การจราจรไม่ติดขัด ลดปัญหามลพิษทางอากาศ
2. การซื้อสินค้าราคาถูกลง คนที่มีฐานะไม่รวยก็สามารถยกระดับมาตฐานการขายสินค้าและบิการได้
ประโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจ มีดังนี้
1. กิจการ SMEs ในประเทศกำลังพัฒนาอาจำได้ประโยชน์จากการเข้าถึงตลาดที่กว้างขวางระดับโลก
2. ทำให้กิจการในประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้าถึงเทคโนโลยีใหม่ ๆได้
3. บทบาทของพ่อค้าคนกลางลดลง ทำให้ต้นทุนการซื้อขายลดลง อุปสรรคการเข้าสู่ตลาดลดลง
4. ทำให้ประชาชนในชนบทได้หาสินค้าหรือบริการได้เช่นเดียวกับในเมือง
5. เพื่อความเข้มข้นของการแข่งขัน ทำให้เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค
ข้อจำกัดของอีคอมเมิร์ซ
ข้อจำกัดของอีคอมเมิร์ซด้านเทคนิคได้แก่
1. ขาดมาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับในด้านคุณภาพ ความปลอดภัยและความน่าเชื่อถือ
2. ความกว้างของช่องทางการสื่อสารมีจำกัด
3. ซอฟต์แวร์อยู่ระหว่างการพัฒนา
4. ปัญหาความเข้ากันได้ระหว่างอินเทอร์เน็ตและซอฟต์แวร์ของอีคอมเมิร์ซกับแอปพลิเคชั่น
5. ต้องการWeb Server และ Network Server ที่ออกแบบมาเป็นพิเศษ
6. การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตยังมีราคาแพงและไม่สะดวก
ข้อจำกัดของอีคอมเมิร์ซด้านกฎหมาย มีดังนี้
1. กฎหมายที่สามารถคุ้มครองการทำธุรกรรมเข้ามรัฐหรือข้ามประเทศ ไม่มีมาตรฐานที่เหมือนกัน และมีลุกษณะที่แตกต่างกัน
2. การใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์จะมีผลทางกฎหมายหรือไม่
3. ปัญหาเกิดจากการทำธุรกรรม เช่น การส่งสินค้ามีลักษณะแตกต่างจากที่โฆษณาบนอินเทอร์เน็ต จะมีการเรียกร้องค่าเสียหายได้หรือไม่

ข้อจำกัดของอีคอมเมิร์ซด้านธุรกิจ มีดังนี้
1. วงจรผลิตภัณฑ์จะสั้นลงเพราะการเข้าถึงข้อมูลทำได้ง่ายและรวดเร็ว เกิดคู่แข่งขันเข้ามาในตลาดได้ง่าย
2. ความพร้อมของภูมิภาคต่างๆ ในการปรับโครงสร้างเพื่อรองรับการเจริญเติบโตของอีคอมเมิร์ซมีไม่เท่ากัน
3. ภาษีและค่าธรรมเนียมจากอีคอมเมิร์ซจัดเก็บได้ยาก ยังไม่มีกฎหมายคุ้มครอง
4. ต้นทุนในการสร้างอีคอมเมิร์ซครบวงจรค่อนข้างสูง เพราะร่วมถึงค่า Hardware , Software ที่มีประสิทธิภาพ ระบบความปลอดภัยที่น่าเชื่อถือ การจัดการระบบเครือข่ายตลอดจนค่าจ้างบุคลากร
5. ประเทศกำลังพัฒนาต้องลงทุนทางด้านเทคโนโลยีสูงมากในโครงสร้างพื้นฐาน
6. เงินสดอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้เกิดการฟอกเงินได้ง่าย เนื่องจากการใช้เงินสดอิเล็กทรอนิกส์จะทำให้การตรวจสอบที่มาของเงินทำได้อยาก
ข้อจำกัดของอีคอมเมิร์ซด้านอื่น ๆ มีดังนี้
1. การให้ข้อมูลที่เป็นเท็จบนอินเทอร์เน็ต มีมากและมีการขยายตัวเร็วมากว่าการพัฒนาของอินเทอร์เน็ต
2. สิทธิส่วนบุคคลระบบการจ่ายเงินหรือการให้ข้อมูลของลูกค้าทางอินเทอร์เน็ตทำให้ผู้ขายทราบว่าผู้ซื้อเป็นใครและสามารถใช้ซอฟต์แวร์ติดตามกิจกรรมต่างหรือส่ง Spam ไปรบกวนได้
3. อีคอมเมิร์ซเหมาะกับระบบเศรษฐกิจที่น่าเชื่อถือและไว้วางใจได้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายรวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4. ยังไม่มีการดำเนินผลการดำเนินงาน หรือวิธีการที่ดีของอีคอมเมิร์ซ เช่น การโฆษณา


วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2552

แบบฝึกหัดบทที่ 3
ตอนที่1
1. องค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 อย่าง ได้แก่
- 1.ฮาร์ดแวร์ Hardware
2.ซอฟต์แวร์ Software
3.บุคลากรPropleware
4.ข้อมูลData/Information
2. การทำงานของฮาร์ดแวร์แบ่งออกเป็น 5 หน่วย ได้แก่
- 1. หน่วยนำข้อมูลเข้าInput Unit
2. หน่วยประมวลผลกลางCentral Processing Unit
3. หน่วยความจำหลักPrimary Storage
4. หน่วยเก็บข้อมูลสำรองSecondary Storage
5. หน่วยแสดงผลOutput Unit
3.หน่วยนำข้อมูลเข้า Input Unit ทำหน้าที่
- หน่วยนำข้อมูลเข้าทำหน้าที่รับข้อมูลหรือคำสั่งจากผู้ใช้เข้าสู้ระบบคอมพิวเตอร์ แล้วนำไปประมวลผล ได้แก่ เมาส์ คีบอร์ด จอสัมผัสหรือทัชสกรีน ปากกาแสง ไมโครโฟน
4.หน่วยประมวลผลกลางคือ หรือซีพียูโปรเซลเซอร์ หรือไมโครชิป คือสมองของพีซีที่ควบคุมการทำงานทั้งระบบ ภายในไมโครคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่ควบคุมการทำงานและประมวลผลข้อมูลที่ได้จากหน่วยนำข้อมูลเข้า ตามคำสั่งต่างๆ ในโปรแกรมที่เตรียมไว้และส่งต่อไปยังส่วนแสดงผลข้อมูล
มีองค์ประกอบคือ
- หน่วยควบคุม
- หน่วยคำนวณและตรรกะ หรือ เอแอลยู
5.หน่วยความจำหลักมี 2 ประเภท ได้แก่
- หน่วยความจำแบบอ่านอย่างเดียวหรือหน่วยความจำถาวร เรียกว่า ROM
- หน่วยความจำหลักแบบแก้ไขได้เรียกว่า RAM
6.หน่วยความจำถาวร (ROM) คือ
- หน่วยความจำแบบอ่านอย่างเดียวหรือหน่วยความจำถาวร เป็นหย่วยความจำที่เก็บชุดคำสั่งที่ใช้ในการเริ่มต้นในการทำงาน หรือชุดคำสั่งสำคัญของคอมพิวเตอร์
7.หน่วยความจำชั่วคราว (RAM) คือ
- หน่วยความจำแบบแก้ไขได้ หรือหน่วยความจำชั่วคราว ซึ่งเป็นที่เก็บโปรแกรมและข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีหน่วยความจำนี้ ซีพีจะทำงานไม่ได้เลย เนื่องจากหน่วยความจำแรมเป็นที่เก็บข้อมูลทุกอย่างที่ซีพียูใช้ในขณะกำลังทำงานอยู่ เพราะอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูลอื่น จะมีความเร็วในการอ่านช้ามาก
8.หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) มีหน้าที่
- เพื่อจัดเก็บข้อมูลในรูปของสื่อต่างๆ ที่สามารถนำมาใช้ในอนาคตได้ เพราะไม่สามารถเก็บข้อมูลในหน่วยความจำหลัก เนื่องจากข้อมูลจะหายเมื่อปิดเครื่อง จำเป็นต้องหาอุปกรณ์ข้อมูลสำรอง
9.ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

- 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
2. ซอฟแวร์ประยุกต์ (Application Software)
10.พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วย
- 1. หน่วยประมวลผลกลาง(Central Processing Unit)
2. หน่วยความจำหลัก (Primary Storage)
3. หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage)
4. หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output Unit)
5. ระบบบัส (System Bus)

ตอนที่ 2


1.ข้อใดคืออุปกรณ์รับข้อมูล
- ง.ถูกทุกข้อ
2.อุปกรณ์ข้อใดสามารถแสดงผลของข้อมูลและนำเข้าข้อมูลได้
- ง.เครื่องอ่านบาร์โคด
3.หน่วยประมวลผลกลางมีองค์ประกอบที่สำคัญอะไรบ้าง
- ค.ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
4.การแสดงผลข้อมูลบนจอภาพมีกี่ลักษณะ
- ก. 2 ลักษณะ
5.ข้อใดคือการทำงานแบบเท็กซ์โหมด
- ข. แสดงผลเฉพาะตัวอัษร
6.เมนบอร์ด (Mainbord) คืออะไร
- ง. แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์
7.ข้อใดคือลักษณะของจอแบบซีอาร์ที
- ก. การทำงานอาศัยหลอดแก้วแสดงผล
8.ซอฟต์แวร์ระบบคืออะไร
- ค. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
9.ข้อใด ไม่ใช่ การทำงานของระบบปฏิบัติการ
- ง. ถูกทุกข้อ
10.ข้อใดคือระบบปฏิบัติการแบบโอเพ่นซอร์ส
- ง. ถูกทุกข้อ
11.solaris หมายถึงอย่างไร
- ก. ระบบปฏิบัตการเครือข่าย
12.โปรแกรมยูทิลิตี้ หรือเรียกกันว่าอย่างไร
- ข. โปรแกรมอรรถประโยชน์
13.ยูทิลิตี้ข้อใดติดตั้งมากับระบบปฏิบัติการวินโดวส์
- ก. โปรแกรม Windows Explrer
14.ข้อใดคือโปรแกรมสำเร็จรูปด้านธุรกิจ
- ง. Microsoft Excel
15.ข้อใดคือส่วนประกอบของหน่วยประมวณผลกลาง
- ง. ถูกทุกข้อ



วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2552


.6บทที่ 2


ความหมายของคอมพิวเตอร์


คอมพิวเตอร์ (Computer) เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถอ่าน รับคำสั่ง แก้ไขปัญหา คำนวณ แสดงผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ ความสำคัญของคอมพิวเตอร์คือ ความสามารถประมวลผลข้อมูลได้อัตโนมัติตามโปรแกรมที่มนุษย์สั่ง และแสดงผลลพธ์ออกมาทางอุปกรณ์แสดงผล โดยผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลคือข้อมูลหรือสารสนเทศ (Information)


ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์


เพื่อให้ผู้ที่ห่างไกลสามารถเข้ามาใช้และแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ง่าย เช่น การเชื่อมต่อผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็จ อำนวยความสะดวกในการทำงาน เช่น ควบคุมและตรวจสอบสินค้าคงคลังบันทึกข้อมูลและเรียกดูประวัติของนักเรียน นักศึกษา ดูแลระบบให้บริการลูกค้า เป็นต้น


(Electronic)มีเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เช่น


E-Banking ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์


E-Service บริการออนไลน์


E-Learning การเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์


E-Society การพัฒนาด้านสังคม


E-Government การนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ประโยชน์ในการบริการ


ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ที่นิยมเอาไปใช้ในงานด้านต่าง ๆ


1. คอมพิวเตอร์กับการใช้งานของภาครัฐ คือ การนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้งานทะเบียนราษฎร์ เช่น แจ้งเกิด ตาย ย้ายที่อยู่


2. คอมพวเตอร์กับงานธุรกิจทั่วไป คือ การนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้งานเพื่อประโยชน์ของการประมวลผลที่รวดเร็ว


3. คอมพิวเตอร์กับงานสายการบิน คือ การนำเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้เกี่ยวกับเรื่องของการสำรองที่นั่งผู้โดยสาร


4. คอมพิวเตอร์กับงานด้านการศึกษา คือ ปัจจุบันสถาบันต่าง ๆ ได้เน้นให้ความสำคัญกับการนำเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในด้านการเรียนการสอนหรือที่เรียกกันว่า E-Education


5. คอมพิวเตอร์กับธุรกิจนำเข้าและส่งออกสินค้า เป็นการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการนำเข้าและการส่งออกสินค้า (Import/Export)


6. คอมพิวเตอร์กับงานธนาคาร เป็นธุรกิจที่แข่งขันกันมากด้านบริการโดยนำคอมพิวเตอร์มาช่วยด้านการให้บริการที่เรียกกันว่า "ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์"(E-Banking) เพื่อความสะดวกสะบายรวดเร็ว ลูกค้าสามารถทำธุรกรรมได้หลาย ๆ ช่องทางที่ธนาคารเปิดให้บริการ


7. คอมพิวเตอร์กับงานวิทยาศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ได้นำคอมพิวเตอร์มาช่วยวิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆ ให้มีความแม่นยำและถูกต้องหน้าเชื่อถือ ช่วยในเรื่องของการทดลองและวิจัยทางวิทยาศาสตร์ คำนวณ และจำลองแบบ


8. คอมพิวเตอร์กับงานการแพทย์ มีการนำเอาเครื่องมืออุปกรณ์สมัยใหม่นำมาทำงานร่วมกันกับคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยวินิจฉัยโรคและตรวจสอบอาการของคนไข้ได้อย่างดี


ประเภทของคอมพิวเตอร์


คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปอาจจำแนกประเภทออกได้ 2 กลุ่มดังนี้


1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล มี 3 ประเภท คือ


1.1 อนาล็อกคอมพิวเตอร์ (Anolog Computer) เป็นคอมพิวเตอรืที่สร้างขึ้นเป็นพิเศษใช้กับงานเฉพาะอย่าง การทำงานใช้หลักการวัดข้อมูลที่ป้อนเข้าไปต้องเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าที่มีค่าต่อเนื่อง ซึ่งค่าสัญญาณไฟฟ้าอาจแทนอุณภูมิความเร็วหรือความดัน


1.2 ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (Digtal Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ทำงานโดยใช้หลักการนับ ข้อมูลที่ป้อนเข้าไปต้องเป็นตัวเลขและให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นตัวเลขดิจิตอล


1.3 ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับงานเฉพาะอย่าง การทำงานจะใช้เทคนิคของอนาล็อกและดิจิตอลมาผสมกัน เช่น การส่งยานอวกาศจะต้องใช้เทคนิคการคำนวณของอนาล็อกควบคุมการหมุนของตัวยานอวกาศ


2. แบ่งตามขนาดและความสามารถ มี 5 ประเภท คือ


2.1 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีความเร็วในการประมวลผลสูงที่สุด และราคาแพงที่สุด เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะสูง สามารถทำการประมวลผลในงานต่าง ๆ กันในเวลาพร้อมกัน ภายใน 1 นาที ถ้าเทียบกับการทำงานของเครื่องพีซีอาจใช้เวลาหลายสัปดาห์


2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ทำงานร่วมกับอุปกรณ์หลาย ๆ อย่างด้วยความเร็วสูงใช้ในงานธุรกิจขนาดใหญ่ มหาวิทยาลัย ธนาคาร และโรงพยาบาล สามารถเก็บข้อมูลที่มีปริมาณมาก ๆ เช่น การสั่งจองที่นั่งของสายการบิน


2.3 มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นเพื่อใช้กับงานเฉพาะอย่าง เช่น ใช้ในการสื่อสารข้อมูลปัจจุบันมินิคอมพิวเตอร์เป็นคู่แข่งกับเครื่องเมนเฟรมในด้านประสิทธิภาพด้านการทำงาน และถูกนำมาใช้ในงานประมวลผลคำ


2.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีผู้นิยมใช้กันมากที่สุด เพราะมีราคาถูก มักเรียกไมโครคอมพิวเตอร์ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล หรือเรียกสั้น ๆ ว่า เครื่องพีซี


2.5 คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer) คอมพิวเตอร์มือถือมีมานานแล้ว ตั้งแต่สมัยที่บริษัท แอปเปิ้ลคอมพิวเตอร์เสนอคอมพิวเตอร์ชื่อ "นิวตัน" เมื่อประมาณ 7-8 ปีที่แล้ว คอมพิวเตอร์นิวตันไม่ประสบความสำเร็จในการขาย แต่ก็เป็นจุดริเริ่มแนวโน้มว่าคอมพิวเตอร์จะมีขนาดเล็กลง บริษัท 3com ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญทางด้านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ออกผลิตคอมพิวเตอร์มือถือให้ชื่อทางการว่า "ปาล์ม"เป็นคอมพิวเตอร์มือถือขนาดเล็ก แต่มีขีดความจำกัด มีหน่วยความจำไม่มาก


4.คอมพิวเตอร์ยุคใหม่


ในปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์มีแนวโน้มที่สูงขึ้นเรื่อย ๆ และนำมาใช้งานที่สลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จากเดิมบางหน่วยงานนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการพิมพ์เอกสารหรืองานสำนักงาน โดยไม่ได้คำนึงถือการเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย แต่ปัจจุบันได้พัฒนาให้สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างทั่วถึงเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจึงสามารถโอนถ่ายข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็วภายใต้ระบบการสื่อสารที่ดีขึ้นโดยเฉพาะบทบาทของเทคโนโลยีทางด้านอินเทอร์เน็ตที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน


นอกจากโน๊ตบุ๊คยุคใหม่ ยังมีไมโครคอมพิวเตอร์รูปแบบต่าง ๆ สามารถจำแนกออกได้หลายแบบดังนี้


1.เดสก์ท๊อป (Desktop) เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะที่ใช้ในสำนักงานหรือตามบ้านทั่วไป นิยมใช้สำหรับพิมพ์ รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นอินเตอร์เน็จ ปัจจุบันเน้นรูปแบบที่ดูสวยงามน่าใช้มากยิ่งขึ้นและมีราคาที่ถูกลง


2. โน้ตบุ๊คยุคใหม่ (Notebook) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็ก ใช้ออปติคอลไดรว์แบบภายนอกแทนที่จะอยู่ในตัวเครื่อง ทำให้สามารถพกพาได้สะดวกมากขึ้น


3. เดสก์โน้ต หรือเพาว์เวอร์โน้ต (Desknote) เป็นคอมพิวเตอร์พกพา ที่มีรูปลักษณ์คล้ายกับคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ลักษณะแบบเดสก์โน้ตเปรียบเสมือนการย่อส่วนเครื่องพีซีที่ใช้งานตามบ้านหรือสำนักงานในปัจจุบันให้มีขนาดเล็กลง


ความแตกต่างระหว่างเดสก์โน้ตกับโน้ตบุ๊ค


(1.) แบตเตอรี่เดสก์โน้ตได้ถูกออกแบบให้มีการนำแบตเตอรี่ออกมาไว้ด้านนอกทำให้ต้องเสียบปลั๊กตลอดเวลาที่ใช้งาน


(2.) ซีพียูของเดสก์โน้ตใช้ซีพียูประเภทเดียวกับพีซีทั่วไป ทำให้สามารถเลือกที่อัพเกรดรุ่นได้ในราคาที่ไม่สูงนัก


(3.) การ์ดแสดงผล ส่วนใหญ่จะติดตั้งมาให้ในเครื่องและไม่สามารถทำการอัพเกรดได้


(4.) เดสก์โน้ตมีราคาถูกกว่าโน้ตบุ๊ค


(5.) เดสก์โน้ตจะไม่มี Floppy Disk Drive ติดตั้งภายในเครื่อง หากผู้ใช้ต้องการสามารถเพิ่มเติมได้


4. แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) คือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ปากกาเขียนลงไปบนหน้าจอได้เลยนั่นเอง โดยจะต้องมีซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเป็นพิเศษ เพื่อใช้ในเครื่องแบบนี้โดยเฉพาะ รูปแบบของเครื่องสามารถพลิกหน้าจอได้ และมีราคาค่อนข้างแพง


5. PDA: พีดีเอ (Personal Digital Assistants) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็กที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการจดบันทึก เก็บข้อมูล เตือนเวลานัดหมาย ได้สะดวกและรวดเร็ว รวมไปถึงความสามารถของการเพิ่มเติมแอปพลิเคชั่น เพื่อให้ใช้งานด้านอื่น ๆ ตามลักษณะการใช้งานและระบบปฏิบัติการที่ถูกติดตั้งอยู่ในเครื่องพีดีเอนั้น ๆ ซึ่งหลัก ๆ ที่รู้จักก็จะมัชีพีดีเอที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Palm OS หรือที่เรียกว่า Palm และ PDA ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows Mobile


6. สมาร์ทโฟน (Smart Phone) คือการพัฒนาโทรศัพท์ธรรมดาให้กลายเป็นอัจฉริยะนั่นเอง นอกจากรับสายเข้าหรือโทรออกแล้ว ยังสามารถถ่ายรูป เล่นอินเตอร์เน็จ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ถูกย่อเข้าให้อยู่ในรูปของมือถือ


Smart Phone สามารถแบ่งตามประเภทของระบบปฏิบัติการ (Operation System: OS) ได้ 2 ประเภท ดังต่อไปนี้


1. Symbian OS คือ ระบบปฏิบัติการที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อรองรับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สายและสามารถใช้กับโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นหลักในการรับส่งข้อมูล


2. Microsoft Smart Phone เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบและจัดทำขึ้นมาโดยบริษัท Microsoft เพื่อให้สามารถรองรับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สายเพื่อให้สารมารถใช้งานกับโทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นหลัก เช่น มีโปรแกรมมาตรฐานของวินโดวส์


5.คอมพิวเตอร์ในอนาคต


ในอนาคตคอมพิวเตอร์ได้หยุดเพียงแค่ให้มีขนาดเล็ก ราคาถูก หรือรูปลักษณ์แปลกที่น่าใช้เท่านั้น หากแต่ยังคิดค้นพัฒนาขีดความสามารถให้ใกล้เคียงกับมนุษย์มากยิ่งขึ้นศาสตร์ทางด้านการผลิต หรือ AI (Artificial Intelligence) ได้เข้ามามีบทบาทในการสร้างปัญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมองของมนุษย์ซึ่งใช้ในงานหลาย ๆ ด้าน


หุ่นยนต์ หรือโรบอต (Robot) คือเครื่องจักรกล ชนิดหนึ่งที่ใช้งานแทนมนุษย์ ที่ออกแบบให้สามารถตั้งลำดับการทำงานการใช้งานได้หลากหลายหน้าที่ ใช้เคลื่อนย้ายวัสดุอุปกรณ์ ส่วนประกอบต่าง ๆ


ประโยชน์และความสามารถของหุ่นยนต์


1.ความสมารถด้านการแพทย์ นำหุ่นยนต์แขนกลเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยทำการผ่าตัดคนไข้


2.ความสามารถในงานวิจัย หุ่นยนต์สามารถทำการสำรวจงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์ร่วมกับมนุษย์ เช่น งานสำรวจใต้น้ำ


3.ความสามารถในงานอุตสาหกรรมหุ่นยนต์เริ่มมีบทบาททางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในขณะที่งานด้านอุตสาหกรรม มีความต้องการด้านแรงงานเป็นอย่างมาก การจ้างแรงงานจำนวนมากเพื่อใช้ในงานอุตสาหกรรมทำให้ต้นทุนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมเพิ่มจำนวนขึ้น


4.ความสมารถในงานด้านบริการ หุ่นยนต์ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นคนรับใช้เพื่อคอยทำงานทั่วไปให้กับเจ้าของบ้าน หุ่นยนต์สุนัขไว้ให้คนเลี้ยง


6.ปัญหาและข้อจำกัดของการใช้งานคอมพิวเตอร์


1.คอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้ามาแทนที่มนุษย์ได้ 100%


2.แม้จะมีความสมารถในเรื่องการคิดตัดสินใจแทนมนุษย์แต่เป็นเพียงบางเรื่องหรือบางกรณีเท่านั้น


3.ได้รับข้อมูลอย่างไรก็ประมวลผลไปตามนั้น


ปัญหาของการใช้งานคอมพิวเตอร์ ที่พบมากที่สุด


1.ความรู้ไม่ทันเทคโนโลยี ผู้ใช้ที่ขาดทักษะบางประการหรือไม่ติดตามข่าวสาร


2.ปัญหาอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ การโกงหรือหลอกลวงข้อมูล


3.มนุษย์ต้องรู้จักเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้ถูกวิธี


4.ติดตามข่าวสารเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์อย่างสม่ำเสมอ


5.ตระหนักถึงจริยธรรมในการใช้งานโดยทั่วไปที่จะไม่สร้างความเสียหายแก่ผู้อื่น


















วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
"เทคโนโลยีสารสนเทศ" (Information Techmology) หรือเรียกสั้น ๆ ว่า "ไอที"
"เทคโนโลยีสารสนเทศ"ซึ่งแต่ละคำมีความหมายดังนี้
1.1"เทคโนโลยี" (Technology) หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ
1.2"สารสนเทศ"(Information) หมายถึง ข่าวสารที่ได้จากการนำข้อมูลดิบ จากแหล่งต่าง ๆ นำมาคำนวณทางสถิติหรือผ่านกระบวนการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการเรียกว่า"สารสนเทศ"
1.3"เทคโนโลยีสารสนเทศ"หมายถึงการประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาจัดการสารสนเทศที่ต้องการโดยอาศัยเครื่องมือทางเทคโนโลยีใหม่ ๆ
"เทคโนโลยีสารสนเทศ" ประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีหลัก 2 สาขา
สาขาที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่สำคัญ ในการเก็บบันทึก ข้อมูลการประมวลผลข้อมูลการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศตามต้องการ
สาขาที่ 2 เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม หมายถึง ช่วยทำให้การเผลแพร่และแลกเปลี่ยนสารสนเทศง่ายมากยิ่งขึ้น

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. เทคโนโลยีช่วยเสริมปัจจัยพื้นฐาน
2. เทคโนโลยีช่วยทำให้มนุษย์มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
3. เทคโนโลยีช่วยทำให้การผลิตสินค้าและบริการที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้มากขึ้น
4. เทคโนโลยีช่วยทำให้ระบบการผลิต สามารถผลิตสินค้าทำได้จำนวนมาก
5. เทคโนโลยีช่วยทำให้การติดต่อสื่อสารเป็นไปอย่างสะดวกและรวดเร็ว

องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีความสามารถจดจำข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบัติตามคำสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆต่อเชื่อมกันเรียกว่า "ฮาร์ดแวร์"
"ฮาร์ดแวร์" ประกอบด้วย 5 ส่วนคือ
1. อุปกรณ์รับข้อมูล
2. อุปกรณ์แสดงผล
3. หน่วยประมวลผลกลาง
4.หน่วยความจำหลัก
5.ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์เป็นองค์ประกอบที่สำคัญและจำเป็นมาก ซอฟต์แวร์แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
5.1ซอฟต์แวร์ระบบ มีหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์และเป็นตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์
5.2ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อทำงานเฉพาะด้านตามความต้องการ ซึ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์นี้สามารถแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
1. ซอฟตืแวร์ประยุกต์เพื่องานทั่วไป
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน
3.ซอฟต์แวร์ประยุกต์อื่น ๆ
2.เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม
เทคโนโลบยีสื่อสารโทรคมนาคมใช้ในการติดต่อสื่อสาร รับส่งข้อมูลจากที่ไกล ๆ
เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารหรือเผยแพร่สารสนเทศได้แก่เทคโนโลยีที่ใช้ในระบบคมนาคมทั้งมีสายและไร้สายสำหรับกลไกลหลักของการสื่อสารโทรคมนาคมมีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ส่วนได้แก่ ต้นแหล่งของข้อความ สื่อกลางสำหรับการรับส่งข้อความและส่วนรับข้อความ นอกจากนี้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 6 รูปแบบคือ
1. เทคโนโลยีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล
3.เทคโนโลยีที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล
4.เทคโนโลยีที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
5.เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดทำสำเนาเอกสาร
6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เนื่องจากองค์ประกอบต่าง ๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการพัฒนาให้มีความสามารถและมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้องค์การธุรกิจต้องนำความสามารถและความรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในงานด้านต่าง ๆ
ตัวอย่างประโยชน์ที่ได้รับจากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์กร
1.ช่วยเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการทำงาน
2.ช่วยจัดระบบสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมายให้มีระเบียบ
3.ช่วยให้การสื่อสารมีความรวดเร็วมากขึ้น
4.เทคโนโลยีสารสนเทศบางอย่างเป็นอัตโนมัติ สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้จากแหล่งอื่น
5.ทำให้มีการกระจายโอกาสการเรียนรู้
6.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
7.ช่วยลดจำนวนบุคลากรในการประมวลผลและผลิตสารสนเทศ

การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปุจจุบัน คือการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในธุรกิจ ด้านการติดต่อสื่อสาร ด้านการรับส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็จโดยเน้นด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประสืทธิภาพสูงสุดอีกทั้งข้อมูลที่ได้รับจะช่วยเพิ่มศักยภาพในการทำงานของบุคลากรได้โดยเทคโนโลยีที่นิยมนำมาใช้ในปัจจุบันเช่น
1.1เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
1.2เทคโนโลยีฐานข้อมูล
1.3เทคโนโลยีอีคอมเมิร์ซ
1.4เทคโนโลยีด้านการรับชำระหนี้ค่าสินค้า
1.5เทคโนโลยีด้านความมั่นคงของระบบข้อมูล
1.6เทคโนโลยีการทำดิจิทัลให้เหมาะสมที่สุด
1.7เทคโนโลยีไร้สาย
1.8เทคโนโลยีสำนักงานเสมือน
1.9เทคโนโลยีระบบประยุกต์ด้านการสื่อสาร
2.แนวโน้มเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
2.1ชิป
2.2หน่วยเก็บ
2.3สภาพแวดล้อมเชิงออกเจกต์
2.4เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ซ่อมบำรุงด้วยตนเอง
2.5คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม
2.6นาโนเทคโนโลยี

ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทค
1.ช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
2.ช่วยให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศที่กระจายไปทั่วทุกแห่งทำให้ทุกคนที่สนใจมีโอกาสในการเรียนรู้ที่เท่าเทียมกัน
3.ประโยชน์ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียน
4.ประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม
5.ประโยชน์ต่อการป้องกันประเทศ
6.ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม

ใบงาน 1.1 ให้นักศึกษาทำกิจกรรมดังต่อไปนี้
1. ยกตัวอย่างการทำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้งานด้านต่าง ๆ ในปัจจุบัน

1.1ควบคุมระบบปรับอากาศ

1.2ควบคุมการเปิดปิดไฟฟ้าในบ้านผ่านโทรศัพท์

2. อธิบายการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่าง ๆ

-การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการผลิตสินค้าทำให้สามารถผลิตสินค้าได้ในจำนวนมากและมีราคาที่ถูกลง

แบบฝึกหัดที่ 1
ตอนที่ 1
1.ความหมายของคำว่า"เทคโนโลยี"(Technology) คือ
- สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เช่น อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องจักร วัสดุ
2.ความหมายของคำว่า "สารสนเทศ" (Information) คือ
-ข่าวสารที่ได้จากข้อมูลดิบจากแหล่งต่าง ๆ นำมาคำนวณหาสถิติหรือผ่านกระบวนการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
3.ความหมายของคำว่า"เทคโนโลยีสารสนเทศ"(Information Technology) คือ
-การประยุกต์เอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาจัดการสารสนเทศที่ต้องการโดยอาศัยเครื่องมือทางเทคโนโลยีใหม่ เช่น เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์
4.ความหมายของคำว่า"เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์"คือ
-เป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจำข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบัติตามคำสั่งเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆต่อเชื่อมกันเรียกว่า"ฮาร์ดแวร์"ซึ่งฮาร์ดแวร์จะทำงานร่วมกับซอฟต์แวร์
5.ความหมายของคำว่า "เทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม"คือ
-การเผยแพร่และแลกเปลี่ยนสารสนเทศให้ง่ายมากขึ้น และสามารถกระจายข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องครบถ้วนและทันเหตุการณ์
6.องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่
-เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีโทรคมนาคม
7.ตัวอย่างประโยชน์ที่ได้รับจากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์กร คือ
1.ช่วยเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการทำงาน
2.ช่วยจัดระบบสารสนเทศที่มีอยู่มากให้เป็นระบบ
3.ช่วยให้การสื่อสารมีความรวดเร็วมากขึ้น
8.ตัวอย่างโปรแกรมปฏิบัติการ (อย่างน้อย 3 โปรแกรม) ได้แก่
-โปรแกรมปฏิบัติการยูนิกซ์
-โปรแกรมปฏิบัติการ(DOS)
-โปรแกรมปฏิบัติการ Windows XP
9.ยกตัวอย่างแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต คือ
-อาจมีการผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบจากโมเลกุลที่มีความเร็วสูงสุด ที่มีโครงสร้างแบบคริสตัล และมีขนาดเล็กมากจนสามารถพกติดตัวได้ โดยใช้ไฟฟ้าน้อยมาก
10.ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อสิ่งแวดล้อม คือ
-ใช้เทคโนโลยีในการเก็บข้อมูล เช่น ใช้ภาพถ่ายทางอากาศจากดาวเทียมตรวจสอบสภาพการถูกทำลายการตรวจสอบเขตป่าสงวนด้วยเครื่องบอกตำแหน่งบอกดาวเทียมทำให้ทราบว่าที่ใดอยู่ในเขตพื้นที่สงวน

ตอนที่ 2

1.ง.
2.ค.
3.ก.
4.ง.
5.ง.
6.ข.
7.ก.
8.ง.
9.ก.
10.ค.
11ง.
12ง.
13ง.
14ก.
15.ง.